ช้ามไปยังส่วนข้อมูลหลัก
ข่าวสำคัญของรัฐบาล
New Southbound Policy。รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แบบออนไลน์แก่ Mr. Tom Stayner ผู้สื่อข่าวสายการเมืองจากสถานีวิทยุและโทรทัศน์ SBS ของออสเตรเลีย (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แบบออนไลน์แก่ Mr. Tom Stayner ผู้สื่อข่าวสายการเมืองจากสถานีวิทยุและโทรทัศน์ SBS ของออสเตรเลีย

รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แบบออนไลน์แก่ Mr. Tom Stayner ผู้สื่อข่าวสายการเมืองจากสถานีวิทยุและโทรทัศน์ SBS ของออสเตรเลีย

นายอู๋เจาเซี่ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้สัมภาษณ์แก่ Mr. Tom Stayner ผู้สื่อข่าวสายการเมืองจากสถานีวิทยุและโทรทัศน์ Special Broadcasting Service (SBS) ของออสเตรเลีย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ในเชิงลึกระหว่างไต้หวันและออสเตรเลีย การลงนามในข้อตกลงด้านความมั่นคงระหว่างจีนและหมู่เกาะโซโลมอน การรุกรานยูเครนของรัสเซีย และการที่ไต้หวันพยายามจะขอเข้าร่วมการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA)

New Southbound Policy。CECC ประกาศ ตั้งแต่ 17 พ.ค. นี้เป็นต้นไป ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมกับผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 หากฉีดวัคซีนครบ 3 เข็ม ไม่ต้องกักตัว โดยให้สังเกตอาการตัวเอง 7 วันแทน (ภาพจาก CNA)
ขยายใหญ่ CECC ประกาศ ตั้งแต่ 17 พ.ค. นี้เป็นต้นไป ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมกับผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 หากฉีดวัคซีนครบ 3 เข็ม ไม่ต้องกักตัว โดยให้สังเกตอาการตัวเอง 7 วันแทน

CECC ประกาศ ตั้งแต่ 17 พ.ค. นี้เป็นต้นไป ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมกับผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 หากฉีดวัคซีนครบ 3 เข็ม ไม่ต้องกักตัว โดยให้สังเกตอาการตัวเอง 7 วันแทน

เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์บัญชาการกลางป้องกันโรคระบาดไต้หวัน (CECC) ได้ประกาศว่า เพื่อตอบสนองการแพร่ระบาดในระดับชุมชน พร้อมทั้งควบคุมความเสี่ยงและรักษาระดับความสามารถในการป้องกันโรคระบาด รวมถึงได้พิจารณาจากมาตรการป้องกันโรคระบาดของต่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2022 เป็นต้นไป ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมกับผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิด หากฉีดวัคซีนครบ 3 เข็ม ไม่ต้องกักตัว โดยให้สังเกตอาการตัวเอง 7 วันแทน ตามรายละเอียดดังนี้ :

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอขอบคุณที่รมว.ต่างประเทศกลุ่ม G7 ร่วมย้ำถึงความสำคัญของเสถียรภาพและสันติภาพของสองฝั่งช่องแคบไต้หวันเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน พร้อมสนับสนุนให้ไต้หวันมีส่วนร่วมในองค์การอนามัยโลกอย่างเป็นรูปธรรม (ภาพจาก photothek.de/Federal Foreign Office)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอขอบคุณที่รมว.ต่างประเทศกลุ่ม G7 ร่วมย้ำถึงความสำคัญของเสถียรภาพและสันติภาพของสองฝั่งช่องแคบไต้หวันเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน พร้อมสนับสนุนให้ไต้หวันมีส่วนร่วมในองค์การอนามัยโลกอย่างเป็นรูปธรรม

กต.ไต้หวันขอขอบคุณที่รมว.ต่างประเทศกลุ่ม G7 ร่วมย้ำถึงความสำคัญของเสถียรภาพและสันติภาพของสองฝั่งช่องแคบไต้หวันเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน พร้อมสนับสนุนให้ไต้หวันมีส่วนร่วมในองค์การอนามัยโลกอย่างเป็นรูปธรรม

การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกทั้ง 7 ประเทศ หรือกลุ่ม G7 ในปีนี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-14 พฤษภาคมที่ผ่านมา ที่ประเทศเยอรมนี โดยในแถลงการณ์ร่วมหลังเสร็จสิ้นการประชุมได้มีการย้ำถึงความสำคัญของเสถียรภาพและสันติภาพของสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน พร้อมสนับสนุนให้แก้ปัญหาความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายด้วยสันติวิธี อีกทั้งยังสนับสนุนให้ไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงเข้าร่วมการประชุมทางเทคนิคของ WHO ด้วย จึงถือเป็นอีกครั้งหนึ่งที่กลุ่

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันชี้แจง กรณีปธน.ไบเดนของสหรัฐฯ ลงนามในกฎหมายขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศวางกลยุทธ์ในการสนับสนุนให้ไต้หวันนรื้อฟื้นสถานะสมาชิกสังเกตการณ์ของ WHO (ภาพจากหนังสือพิมพ์ UDN)
ขยายใหญ่  กต.ไต้หวันชี้แจง กรณีปธน.ไบเดนของสหรัฐฯ ลงนามในกฎหมายขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศวางกลยุทธ์ในการสนับสนุนให้ไต้หวันรื้อฟื้นสถานะสมาชิกสังเกตการณ์ของ WHO

กต.ไต้หวันชี้แจง กรณีปธน.ไบเดนของสหรัฐฯ ลงนามในกฎหมายขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศวางกลยุทธ์ในการสนับสนุนให้ไต้หวันรื้อฟื้นสถานะสมาชิกสังเกตการณ์ของ WHO

เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคมที่ผ่านมา ตามเวลาภาคตะวันออกของสหรัฐฯ ประธานาธิบดีโจ ไบเดนแห่งสหรัฐอเมริกา ได้ลงนามในกฎหมายขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ วางกลยุทธ์ในการสนับสนุนให้ไต้หวันนรื้อฟื้นสถานะสมาชิกสังเกตการณ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ขอแสดงความขอบคุณจากใจจริง มา ณ ที่นี่ด้วย

New Southbound Policy。ไต้หวันและอิสราเอลร่วมลงนามใน “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือด้านกิจการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ระหว่างไต้หวัน-อิสราเอล” (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ ไต้หวันและอิสราเอลร่วมลงนามใน “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือด้านกิจการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ระหว่างไต้หวัน-อิสราเอล”

ไต้หวันและอิสราเอลร่วมลงนามใน “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือด้านกิจการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ระหว่างไต้หวัน-อิสราเอล”

เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคมที่ผ่านมา นายอวี๋ต้าเหลย ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เป็นประธานในพิธีลงนาม “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือด้านกิจการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ระหว่างไต้หวัน-อิสราเอล” โดยมี Mr. Omer Caspi ผู้แทนอิสราเอลประจำไต้หวัน และนางหลีหย่าผิง ผู้แทนไต้หวันประจำอิสราเอล เป็นผู้ลงนามผ่านการถ่ายทอดสัญญาณจากทั้งสองประเทศด้วยระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ ซึ่งนางหลี่ลี่เฟิน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ พร้อมทั้ง Ms. Sigal Moran รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสวัสดิกา

New Southbound Policy。รองปธน. ไล่ชิงเต๋อเข้าร่วม “การประชุมนวัตกรรมการรักษาผู้ป่วย ไต้หวัน-สหรัฐฯ ปี 2022” พร้อมหวังว่าความร่วมมืออย่างใกล้ชิดทางการแพทย์ระหว่างไต้หวัน-สหรัฐฯ จะสร้างความผาสุกให้เอเชียแปซิฟิกและทั่วโลก (ภาพจากทำเนียบประธานาธิบดี)
ขยายใหญ่ รองปธน. ไล่ชิงเต๋อเข้าร่วม “การประชุมนวัตกรรมการรักษาผู้ป่วย ไต้หวัน-สหรัฐฯ ปี 2022” พร้อมหวังว่าความร่วมมืออย่างใกล้ชิดทางการแพทย์ระหว่างไต้หวัน-สหรัฐฯ จะสร้างความผาสุกให้เอเชียแปซิฟิกและทั่วโลก

รองปธน. ไล่ชิงเต๋อเข้าร่วม “การประชุมนวัตกรรมการรักษาผู้ป่วย ไต้หวัน-สหรัฐฯ ปี 2022” พร้อมหวังว่าความร่วมมืออย่างใกล้ชิดทางการแพทย์ระหว่างไต้หวัน-สหรัฐฯ จะสร้างความผาสุกให้เอเชียแปซิฟิกและทั่วโลก

เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคมที่ผ่านมา รองประธานาธิบดีไล่ชิงเต๋อแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้กล่าวระหว่างเดินทางไปเข้าร่วม “การประชุมนวัตกรรมการรักษาผู้ป่วยไต้หวัน-สหรัฐฯ 2022” ว่า ความร่วมมือทางการแพทย์ระหว่างไต้หวันและสหรัฐฯ ได้ดำเนินมาเป็นเวลาหลายสิบปีแล้ว ความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ายจึงมีความใกล้ชิดมากขึ้นเป็นลำดับ โดยมิใช่มีเพียงแต่การแลกเปลี่ยนทางการแพทย์ระหว่างภาคเอกชนเท่านั้น ในส่วนของภาครัฐก็มีการลงนามปฏิญญาและ MOU ร่วมกันหลายฉบับ จึงหวังว่า ไต้หวันและสหรัฐฯ จะยังคงมีความร่วมมืออันใกล้ชิดระหว่า

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณวุฒิสภาสาธารณรัฐเช็ก ที่เห็นชอบต่อญัตติที่เป็นมิตรต่อไต้หวันว่าด้วยการสนับสนุนให้ไต้หวัน เข้ามีส่วนร่วมในองค์การระหว่างประเทศ ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณวุฒิสภาสาธารณรัฐเช็ก ที่เห็นชอบต่อญัตติที่เป็นมิตรต่อไต้หวันว่าด้วยการสนับสนุนให้ไต้หวัน เข้ามีส่วนร่วมในองค์การระหว่างประเทศ ติดต่อกันเป็นปีที่ 2

กต.ไต้หวันขอบคุณวุฒิสภาสาธารณรัฐเช็ก ที่เห็นชอบต่อญัตติที่เป็นมิตรต่อไต้หวันว่าด้วยการสนับสนุนให้ไต้หวัน เข้ามีส่วนร่วมในองค์การระหว่างประเทศ ติดต่อกันเป็นปีที่ 2

เมื่อวันที่ 11 พ.ค. ที่ผ่านมา วุฒิสภาแห่งสาธารณรัฐเช็กได้มีมติเห็นชอบต่อญัตติที่เป็นมิตรต่อไต้หวันด้วยคะแนนเสียงเป็นเอกฉันท์ โดยมีสาระสำคัญที่ระบุถึงการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้าร่วมองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การอนามัยโลก (WHO) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) และองค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (INTERPOL) กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ขอขอบคุณวุฒิสภาแห่งสาธารณรัฐเช็กที่มีมติเห็นชอบต่อญัตติที่เป็นมิตรต่อไต้หวัน

New Southbound Policy。ไต้หวันได้รับเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสุดยอดสถานการณ์โควิด – 19 ทั่วโลก” รูปแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ ไต้หวันได้รับเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสุดยอดสถานการณ์โควิด – 19 ทั่วโลก” รูปแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2

ไต้หวันได้รับเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสุดยอดสถานการณ์โควิด – 19 ทั่วโลก” รูปแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2

เพื่อสร้างความร่วมมือในการหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ทั่วโลก พร้อมรับมือกับวิกฤตด้านสาธารณสุขโลกในอนาคต สหรัฐฯ ประเทศเจ้าภาพของ “การประชุมสุดยอดสถานการณ์โควิด – 19 ทั่วโลก (Global COVID-19 Summit)” ครั้งที่ 1 เบลีซ ซึ่งเป็นประธานของกลุ่มประเทศในภูมิภาคทะเลแคริบเบียน รวมถึงเยอรมนี ประเทศเจ้าภาพของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนําของโลก 7 ชาติ (G7) อินโดนีเซีย ประเทศเจ้าภาพกลุ่ม G20 และสาธารณรัฐเซเนกัล ประเทศเจ้าภาพของสหภาพแอฟริกา (AU) ได้ร่วมกันจัด “การประชุมสุดยอดสถานการณ์โควิด – 19 ทั่วโลก

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มสมาชิก “สโมสรฟอร์โมซาในภูมิภาคอินโด – แปซิฟิก” ที่ร่วมให้การสนับสนุนไต้หวันเข้าร่วมองค์การระหว่างประเทศ อาทิ WHO (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่  กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มสมาชิก “สโมสรฟอร์โมซาในภูมิภาคอินโด – แปซิฟิก” ที่ร่วมให้การสนับสนุนไต้หวันเข้าร่วมองค์การระหว่างประเทศ อาทิ WHO

กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มสมาชิก “สโมสรฟอร์โมซาในภูมิภาคอินโด – แปซิฟิก” ที่ร่วมให้การสนับสนุนไต้หวันเข้าร่วมองค์การระหว่างประเทศ อาทิ WHO

เมื่อวันที่ 10 พ.ค. “สโมสรฟอร์โมซา” (Formosa Club in the Indo-Pacific Region) ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มรัฐสภาแบบข้ามประเทศในภูมิภาคอินโด – แปซิฟิก ได้จัดการประชุมใหญ่ประจำปีเป็นครั้งแรกผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ ภายใต้หัวข้อ “ความท้าทายและแนวโน้มของความร่วมมือทางการแพทย์ในภูมิภาคอินโด – แปซิฟิกในยุคหลังโควิด – 19” โดยในระหว่างการประชุม Mr. Kausea Natano นายกรัฐมนตรีแห่งตูวาลูได้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของกลุ่มสมาชิกสโมสร ประกาศแถลงการณ์ร่วม โดยได้เรียกร้องต่อประชาคมโลก ว่า ไต้หวันเป็นพันธมิตรสำคัญซึ่งจะขาดเสี

New Southbound Policy。การประชุมนานาชาติว่าด้วยการตรวจสอบรายงานแห่งชาติครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “กติการะหว่างประเทศ 2 ฉบับ” เปิดฉากแล้ว โดยไต้หวันได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมตรวจสอบการดำเนินงานในไต้หวัน (ภาพจากสภาบริหาร)
ขยายใหญ่ การประชุมนานาชาติว่าด้วยการตรวจสอบรายงานแห่งชาติครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “กติการะหว่างประเทศ 2 ฉบับ” เปิดฉากแล้ว โดยไต้หวันได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมตรวจสอบการดำเนินงานในไต้หวัน

การประชุมนานาชาติว่าด้วยการตรวจสอบรายงานแห่งชาติครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “กติการะหว่างประเทศ 2 ฉบับ” เปิดฉากแล้ว โดยไต้หวันได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมตรวจสอบการดำเนินงานในไต้หวัน

เมื่อวันที่ 9 พ.ค. การประชุมนานาชาติว่าด้วยการตรวจสอบรายงานแห่งชาติครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “กติการะหว่างประเทศ 2 ฉบับ” (Third Report on the ICCPR and ICESCR) ประกอบด้วย “กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง” (International Covenant on Civil and Political Rights, ICCPR) และ “กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights, ICESCR) ได้เปิดฉากขึ้น ณ มูลนิธิ Chang Yung-Fa Foundation อย่างสมเกียรติ โดยได้