ช่วงก่อนหน้านี้ไม่นาน ประธานาธิบดีโจ ไบเดน (Joe Biden) ผู้นำสหรัฐอเมริกา ได้ให้สัมภาษณ์แก่นิตยสาร TIME โดยระบุว่า “หากจีนต้องการเปลี่ยนแปลงสถานภาพเดิมในปัจจุบันของช่องแคบไต้หวัน สหรัฐฯ จะไม่เพิกเฉยต่อการส่งมอบความช่วยเหลือให้แก่ไต้หวัน
ช่วงก่อนหน้านี้ไม่นาน ประธานาธิบดีโจ ไบเดน (Joe Biden) ผู้นำสหรัฐอเมริกา ได้ให้สัมภาษณ์แก่นิตยสาร TIME โดยระบุว่า “หากจีนต้องการเปลี่ยนแปลงสถานภาพเดิมในปัจจุบันของช่องแคบไต้หวัน สหรัฐฯ จะไม่เพิกเฉยต่อการส่งมอบความช่วยเหลือให้แก่ไต้หวัน
เพื่อให้ความช่วยเหลือขยายตลาดต่างประเทศแก่ผู้ประกอบการสินค้าเอกลักษณ์ในตัวเมืองและพื้นที่ชนบท นายเฉินมี่ซุ่น รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและธุรกิจสตาร์ทอัพ พร้อมด้วยผู้ประกอบการในเขตตัวเมืองและพื้นที่ชนบท 28 ราย ได้นำผลิตภัณฑ์กว่าร้อยรายการ เข้าร่วม “กิจกรรมจับคู่ผลิตภัณฑ์อาหารไต้หวันและกิจกรรมชวนชิม”
กฎหมายว่าด้วยเวชศาสตร์ฟื้นสภาพ (Regenerative Medicine, RM) ที่เกิดจากการประสานความร่วมมือกันอย่างมุ่งมั่นมาเป็นเวลานาน ระหว่างพรรคฝ่ายรัฐบาลและพรรคฝ่ายค้าน องค์กรภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงหน่วยงานบริหาร ได้ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ในวาระที่ 3 แล้วเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567
งานมหกรรม COMPUTEX Taipei ประจำปี 2567 ที่จัดขึ้นในธีม “การเชื่อมโยงด้วยเทคโนโลยี AI ไปสู่อนาคต (Connecting AI)” มีกำหนดการเปิดฉากขึ้น ณ ศูนย์แสดงสินค้าหนานกั่ง อาคาร 1 และ 2 ในช่วงระหว่างวันที่ 4 – 7 มิ.ย. นี้ โดยมีผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศ ธุรกิจสตาร์ทอัพ และธุรกิจการเงินการลงทุน จำนวนกว่า 1,500 ราย เดินทางมาร่วมงานในครั้งนี้
เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 3 มิ.ย. ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีไล่ชิงเต๋อ ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้การต้อนรับ “คณะตัวแทนที่นำโดย Mr. Uwe Morawetz ประธานมูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล” โดยปธน.ไล่ฯ ได้แสดงความขอบคุณต่อมูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (International Peace Foundation, IPF) ที่เดินทางมาเยือนไต้หวัน เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนใน “โครงการสานสัมพันธ์กับไต้หวัน” ร่วมกับคณาจารย์ - นักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน (NTU)
เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 1 มิ.ย. ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีไล่ชิงเต๋อ ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้การต้อนรับ “คณะปฏิบัติการด้านสาธารณสุขของไต้หวัน” พร้อมทั้งแสดงความชื่นชมต่อคณะปฏิบัติการฯ ที่ปฏิบัติภารกิจในแนวหน้าอย่างเต็มที่ เพื่อสิทธิมนุษยชนด้านสุขภาพของไต้หวันและทั่วโลก นอกจากนี้ ปธน.ไล่ฯ ยังได้แสดงความขอบคุณต่อประชาคมโลกที่ให้ความสนับสนุนต่อไต้หวันอย่างหนักแน่น
การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) ครั้งที่ 77 ได้ปิดฉากลงอย่างราบรื่นเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. ที่ผ่านมา ความมุ่งมั่นตั้งใจของไต้หวันในการแสวงหาหนทางเข้าร่วม ได้รับการสนับสนุนจากประชาคมโลกมากกว่าครั้งก่อนๆ ที่ผ่านมา นอกจาก 11 ประเทศพันธมิตรของไต้หวันที่เป็นสมาชิกองค์การอนามัยโลก (WHO) จะร่วมเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันในที่ประชุมใหญ่แล้ว กลุ่มประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกัน ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐฯ ญี่ปุ่น อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี เช็ก ลิทัวเนีย นิวซีแลนด์ เอสโตเนีย ลักเซมเบิร์ก ลัตเวีย อิสราเอล เน
ระยะนี้ กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และสหรัฐฯ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดาและเนเธอร์แลนด์ ได้ประสานความร่วมมือกับกระทรวงพัฒนาดิจิทัล สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ในการจัด “ค่ายฝึกอบรมนานาชาติว่าด้วยความยืดหยุ่นของความมั่นคงทางไซเบอร์และระบบโทรคมนาคม” ภายใต้กรอบความร่วมมือ Global Cooperation and Training Framework (GCTF)
เมื่อวันที่ 29 พ.ค. ที่ผ่านมา วุฒิสภาสาธารณรัฐเช็กได้มีมติเห็นชอบต่อญัตติในการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้าร่วมองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การอนามัยโลก (WHO) กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC)
“การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” (WHA) ครั้งที่ 77 ยังดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง หลังจากที่กลุ่มประเทศพันธมิตรและมิตรประเทศ ร่วมเป็นกระบอกเสียงให้การสนับสนุนไต้หวันในวันแรกของการเปิดการประชุมแล้ว วันที่ 2 ของการประชุมก็มีอีกหลายประเทศที่ร่วมเป็นกระบอกเสียงให้การสนับสนุนไต้หวันด้วยเช่นกัน กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) รู้สึกขอบคุณด้วยใจจริง