ช้ามไปยังส่วนข้อมูลหลัก
ข่าวสำคัญของรัฐบาล
New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและมิตรประเทศที่ร่วมกันสนับสนุนไต้หวันระหว่างการประชุม WHA ครั้งที่ 76 พร้อมแสดงความเห็นกรณีที่รมว.สาธารณสุขเอสโตเนียให้การสนับสนุนไต้หวันในการประชุม WHA เป็นครั้งแรก (ภาพจาก CNA)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและมิตรประเทศที่ร่วมกันสนับสนุนไต้หวันระหว่างการประชุม WHA ครั้งที่ 76 พร้อมแสดงความเห็นกรณีที่รมว.สาธารณสุขเอสโตเนียให้การสนับสนุนไต้หวันในการประชุม WHA เป็นครั้งแรก

กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและมิตรประเทศที่ร่วมกันสนับสนุนไต้หวันระหว่างการประชุม WHA ครั้งที่ 76 พร้อมแสดงความเห็นกรณีที่รมว.สาธารณสุขเอสโตเนียให้การสนับสนุนไต้หวันในการประชุม WHA เป็นครั้งแรก

การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) ครั้งที่ 76 ยังคงดำเนินอยู่อย่างต่อเนื่อง หลังจากที่ 5 ประเทศพันธมิตรไต้หวัน ได้แก่ เบลีซ นาอูรู เอสวาตินี หมู่เกาะมาร์แชลล์ และกัวเตมาลา รวมถึง 7 มิตรประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกัน คือ ญี่ปุ่น อังกฤษ ออสเตรีย เช็กเกีย ฝรั่งเศส แคนาดาและสหรัฐอเมริกา ได้ร่วมเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันแล้ว ในวันที่ 3 ของการประชุม WHA ก็ยังมีกลุ่มประเทศพันธมิตรและประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันทยอยเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันอย่างต่อเนื่อง

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่ผู้นำเกาหลีใต้ ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปและประธานคณะมนตรียุโรป ร่วมประกาศแถลงการณ์ เน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน รวมถึงการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก หลังเสร็จสิ้นการประชุมสุดยอดผู้นำ ที่กรุงโซล เมื่อวันที่ 22 พ.ค. ที่ผ่านมา (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่ผู้นำเกาหลีใต้ ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปและประธานคณะมนตรียุโรป ร่วมประกาศแถลงการณ์ เน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน รวมถึงการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก หลังเสร็จสิ้นการประชุมสุดยอดผู้นำ ที่กรุงโซล เมื่อวันที่ 22 พ.ค. ที่ผ่านมา

กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่ผู้นำเกาหลีใต้ ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปและประธานคณะมนตรียุโรป ร่วมประกาศแถลงการณ์ เน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน รวมถึงการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก หลังเสร็จสิ้นการประชุมสุดยอดผู้นำ ที่กรุงโซล เมื่อวันที่ 22 พ.ค. ที่ผ่านมา

กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ชี้แจงต่อกรณีเมื่อวันที่ 22 พ.ค. ที่ ผ่านมา Mr. Yoon Suk-yeol ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ Ms. Ursula von der Leyen ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป และ Mr. Charles Michel ประธานคณะมนตรียุโรป ได้ประกาศแถลงการณ์ร่วมหลังเสร็จสิ้นการประชุมสุดยอดผู้นำ ที่จัดขึ้นในกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ โดยแถลงการณ์ร่วมฉบับข้างต้น ระบุถึงความสำคัญของการธำรงรักษาสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน และการต่อต้านความทะเยอทะยานในการเปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันในภูมิภาคอินโด - แปซิฟิก ด้วยควา

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันร่วมเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) สมัยที่ 76 (ภาพจากสำนักงานตัวแทนรัฐบาลไต้หวันในกรุงเจนีวา)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันร่วมเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) สมัยที่ 76

กต.ไต้หวันขอบคุณกลุ่มประเทศพันธมิตรและประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันร่วมเป็นกระบอกเสียงให้ไต้หวันในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) สมัยที่ 76

การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) สมัยที่ 76 เปิดฉากขึ้นแล้ว ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 21 พ.ค. โดยในระหว่างนี้ 4 ตัวแทนประเทศพันธมิตรไต้หวัน ได้แก่ เบลีซ สาธารณรัฐนาอูรู ราชอาณาจักรเอสวาตินีและสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ ได้ร่วมจัด “การอภิปรายแบบ 2 ต่อ 2” กับตัวแทนเจ้าหน้าที่ภาครัฐของจีนและประเทศที่ฝักใฝ่ฝ่ายจีน โดยกลุ่มพันธมิตรไต้หวันได้ร่วมประณาม “หลักการจีนเดียว” ที่จีนใช้กล่าวอ้างในเวทีนานาชาติ แต่ปราศจากซึ่งฉันทามติร่วมกันในประชาคมโลก

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณทั่วโลกสำหรับการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้าร่วมใน “องค์การอนามัยโลก” (WHO) และ “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” (WHA) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณทั่วโลกสำหรับการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้าร่วมใน “องค์การอนามัยโลก” (WHO) และ “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” (WHA) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

กต.ไต้หวันขอบคุณทั่วโลกสำหรับการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้าร่วมใน “องค์การอนามัยโลก” (WHO) และ “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” (WHA) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

แผนผลักดันการเข้าร่วม “องค์การอนามัยโลก” (WHO) และ “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” (WHA) ของไต้หวัน ภายใต้หลักการ “ความเป็นมืออาชีพ การนำไปปฏิบัติได้จริง และการอุทิศตน” ได้รับการยอมรับจากทุกแวดวงในประชาคมโลก ก่อนการเปิดฉากการประชุม WHA ครั้งที่ 76 ในปี 2023 มีมิตรสหายนานาชาติจำนวนกว่า 6,000 คนจาก 70 กว่าประเทศใน 5 ทวีปทั่วโลก

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอต้อนรับการเดินทางเยือนไต้หวันของรองนายกรัฐมนตรีของเซนต์ลูเซีย และคณะ (ภาพจากเฟซบุ๊กกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอต้อนรับการเดินทางเยือนไต้หวันของรองนายกรัฐมนตรีของเซนต์ลูเซีย และคณะ

กต.ไต้หวันขอต้อนรับการเดินทางเยือนไต้หวันของรองนายกรัฐมนตรีของเซนต์ลูเซีย และคณะ

Mr. Ernest Hilaire รองนายกรัฐมนตรีของเซนต์ลูเซีย ตอบรับคำเชิญของรัฐบาลสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) โดยมีกำหนดการนำคณะตัวแทนเดินทางเยือนไต้หวันในช่วงระหว่างวันที่ 22 – 26 พ.ค. นี้ ซึ่งสมาชิกคณะตัวแทนที่ร่วมเดินทางมาในครั้งนี้ รวมถึง Mr. Sidney Darwin Guard ประธานมูลนิธิเพื่อการพัฒนาทางวัฒนธรรมของเซนต์ลูเซีย กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ขอแสดงความยินดีในการให้การต้อนรับจากใจจริง

New Southbound Policy。รมว.กต.ไต้หวันและรมว.สาธารณสุขไต้หวันร่วมแถลงข่าว แสดงความเสียใจและความไม่พอใจต่อการที่ไต้หวันมิได้ถูกเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” พร้อมย้ำถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของไต้หวันในการสร้างคุณประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ประชาคมโลก (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ รมว.กต.ไต้หวันและรมว.สาธารณสุขไต้หวันร่วมแถลงข่าว แสดงความเสียใจและความไม่พอใจต่อการที่ไต้หวันมิได้ถูกเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” พร้อมย้ำถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของไต้หวันในการสร้างคุณประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ประชาคมโลก

รมว.กต.ไต้หวันและรมว.สาธารณสุขไต้หวันร่วมแถลงข่าว แสดงความเสียใจและความไม่พอใจต่อการที่ไต้หวันมิได้ถูกเชิญให้เข้าร่วม “การประชุมสมัชชาอนามัยโลก” พร้อมย้ำถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของไต้หวันในการสร้างคุณประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ประชาคมโลก

การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (WHA) สมัยที่ 76 เปิดฉากขึ้นเมื่อวันที่ 21 พ.ค. แต่ตราบจนปัจจุบัน ไต้หวันก็ยังไม่ได้รับจดหมายเชิญให้เข้าร่วมการประชุม โดยเมื่อช่วงบ่ายของวันที่ 18 พ.ค. นายอู๋เจาเซี่ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และนายเซวียรุ่ยหยวน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ สาธารณรัฐจีน(ไต้หวัน) ได้ร่วมกันจัดงานแถลงข่าวขึ้น ณ ที่ทำการกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อเรียกร้องให้สำนักเลขาธิการองค์การอนามัยโลก (WHO) เชิญไต้หวันเข้าร่วมการประชุม WHA รวมถึงแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของ

New Southbound Policy。ปธน.ไช่อิงเหวิน ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เป็นประธานในงานแถลงข่าว “การพลิกโฉมประเทศ ภายใต้การบริหารประเทศ 7 ปี เพื่อให้ไต้หวันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวโลกอีกครั้ง” (ภาพจากทำเนียบประธานาธิบดี)
ขยายใหญ่ ปธน.ไช่อิงเหวิน ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เป็นประธานในงานแถลงข่าว “การพลิกโฉมประเทศ ภายใต้การบริหารประเทศ 7 ปี เพื่อให้ไต้หวันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวโลกอีกครั้ง”

ปธน.ไช่อิงเหวิน ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เป็นประธานในงานแถลงข่าว “การพลิกโฉมประเทศ ภายใต้การบริหารประเทศ 7 ปี เพื่อให้ไต้หวันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวโลกอีกครั้ง”

เมื่อช่วงเช้าวันที่ 20 พ.ค. ประธานาธิบดีไช่อิงเหวิน ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ทำหน้าที่เป็นประธานในงานแถลงข่าว ภายใต้หัวข้อ “การพลิกโฉมประเทศ ภายใต้การบริหารประเทศ 7 ปี เพื่อให้ไต้หวันเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของชาวโลกอีกครั้ง” โดยปธน.ไช่ฯ ได้ชี้แจงผลสัมฤทธิ์จากการบริหารประเทศของตนในระยะเวลาตลอด 7 ปีที่ผ่านมา พร้อมกล่าวว่า คณะรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ภาครัฐจะทำหน้าที่เป็น “ผู้พิทักษ์” หลักการประชาธิปไตยและเสรีภาพของไต้หวันให้คงอยู่ต่อไป และจะทำหน้าที่เป็น “ผู้สร้างคุณประโยชน์” ให้แก่วิถีชีวิตของ

New Southbound Policy。รองปธน.สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ให้การต้อนรับ “Ms. Liz Truss” อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร (ภาพจากทำเนียบประธานาธิบดี)
ขยายใหญ่ รองปธน.สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ให้การต้อนรับ “Ms. Liz Truss” อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร

รองปธน.สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ให้การต้อนรับ “Ms. Liz Truss” อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร

เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 18 พ.ค. ที่ผ่านมา นายไล่ชิงเต๋อ รองประธานาธิบดี สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้การต้อนรับ “Ms. Liz Truss” อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นวุฒิสมาชิกของอังกฤษ” โดยรองปธน.ไล่ฯ ได้แสดงความขอบคุณที่ Ms. Truss ให้การสนับสนุนประชาธิปไตยของไต้หวันอย่างเป็นรูปธรรมเสมอมา พร้อมชี้ว่า ในฐานะที่ไต้หวันเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มประเทศประชาธิปไตย เราจะยืนหยัดอยู่บนพื้นที่ระยะห่วงโซ่ที่ 1 อย่างเข้มแข็ง พร้อมใช้ประโยชน์จากพลังแห่งประชาธิปไตยและเศรษฐกิจ ในการผลักด

New Southbound Policy。รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวนสพ. Handelsblatt ของเยอรมนี เรียกร้องให้การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G7 ร่วมสนับสนุนไต้หวันให้พ้นจากการรุกรานของจีน (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวนสพ. Handelsblatt ของเยอรมนี เรียกร้องให้การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G7 ร่วมสนับสนุนไต้หวันให้พ้นจากการรุกรานของจีน

รมว.กต.ไต้หวันให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวนสพ. Handelsblatt ของเยอรมนี เรียกร้องให้การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G7 ร่วมสนับสนุนไต้หวันให้พ้นจากการรุกรานของจีน

เมื่อวันที่ 15 พ.ค. ที่ผ่านมา นายอู๋เจาเซี่ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้สัมภาษณ์แก่ Mr. Martin Kölling ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ Handelsblatt ของเยอรมนี ที่ประจำอยู่ในกรุงโตเกียว โดยเนื้อหาบทสัมภาษณ์ได้ถูกตีพิมพ์ผ่านหน้าหนังสือพิมพ์และเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ภายใต้หัวข้อ “รมว.กต.ไต้หวัน เผย จีนเตรียมพร้อมสำหรับการบุกไต้หวัน” (Taiwans Außenminister: “China bereitet sich auf Krieg vor”) ซึ่งได้รับความสนใจจากทุกแวดวงในเยอรมนีเป็นอย่างมาก

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่คณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา ได้มีมติให้ผ่าน “กฎหมายความเป็นปึกแผ่นระหว่างประเทศของไต้หวัน” (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่คณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา ได้มีมติให้ผ่าน “กฎหมายความเป็นปึกแผ่นระหว่างประเทศของไต้หวัน”

กต.ไต้หวันชี้แจงต่อกรณีที่คณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา ได้มีมติให้ผ่าน “กฎหมายความเป็นปึกแผ่นระหว่างประเทศของไต้หวัน”

เมื่อวันที่ 16 พ.ค. ที่ผ่านมา คณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา ได้มีมติให้ผ่าน “กฎหมายความเป็นปึกแผ่นระหว่างประเทศของไต้หวัน” (Taiwan International Solidarity Act)” โดยกฎหมายฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านพฤติกรรมของจีนที่จงใจบิดเบือนข้อเท็จจริงในญัตติที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ฉบับที่ 2758 เพื่อเป็นการขัดขวางมิให้ไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในองค์การระหว่างประเทศ โดย Mr. Michael McCaul, R-TX ประธานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐฯ และ Mr. Gregor