ช้ามไปยังส่วนข้อมูลหลัก
ข่าวสำคัญของรัฐบาล
New Southbound Policy。“การประชุมเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มสมาชิกรัฐสภาไต้หวัน – สหรัฐฯ - ญี่ปุ่น” ครั้งที่ 2 จัดขึ้นผ่านระบบวีดิโอคอนเฟอเรนซ์อย่างราบรื่น (ภาพจาก LTN)
ขยายใหญ่ “การประชุมเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มสมาชิกรัฐสภาไต้หวัน – สหรัฐฯ - ญี่ปุ่น” ครั้งที่ 2 จัดขึ้นผ่านระบบวีดิโอคอนเฟอเรนซ์อย่างราบรื่น

“การประชุมเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มสมาชิกรัฐสภาไต้หวัน – สหรัฐฯ - ญี่ปุ่น” ครั้งที่ 2 จัดขึ้นผ่านระบบวีดิโอคอนเฟอเรนซ์อย่างราบรื่น

“การประชุมเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มสมาชิกรัฐสภาไต้หวัน - สหรัฐฯ – ญี่ปุ่น” ครั้งที่ 2 ถูกจัดขึ้นผ่านระบบวีดิโอคอนเฟอเรนซ์อย่างราบรื่น เมื่อวันที่ 16 พ.ย. ที่ผ่านมา ซึ่งบังเกิดผลสัมฤทธิ์มากมาย โดยเหล่าสมาชิกรัฐสภาจากไต้หวัน สหรัฐฯ และญี่ปุ่น ล้วนให้การสนับสนุนเป็นเสียงเดียวกันในการเน้นย้ำว่า กลุ่มประเทศที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันควรเร่งเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความมั่นคง เพื่อสกัดกั้นการแผ่ขยายอิทธิพลของอำนาจเผด็จการ พร้อมนี้ ยังได้เรียกร้องให้ประชาคมโลกให้ความสำคัญต่อสันติภาพและเสถียรภาพในสอง

New Southbound Policy。ผู้นำไต้หวันร่วมหารือกับปธน. สาธารณรัฐนาอูรู พร้อมจัดเลี้ยงรับรอง โดยในช่วงค่ำวันเดียวกันนี้ รมว.กต.ไต้หวัน ก็ได้จัดเลี้ยงรับรองคณะด้วยเช่นกัน (ภาพจากทำเนียบปธน.)
ขยายใหญ่ ผู้นำไต้หวันร่วมหารือกับปธน. สาธารณรัฐนาอูรู พร้อมจัดเลี้ยงรับรอง โดยในช่วงค่ำวันเดียวกันนี้ รมว.กต.ไต้หวัน ก็ได้จัดเลี้ยงรับรองคณะด้วยเช่นกัน

ผู้นำไต้หวันร่วมหารือกับปธน. สาธารณรัฐนาอูรู พร้อมจัดเลี้ยงรับรอง โดยในช่วงค่ำวันเดียวกันนี้ รมว.กต.ไต้หวัน ก็ได้จัดเลี้ยงรับรองคณะด้วยเช่นกัน

หลังเสร็จสิ้นพิธีตรวจแถวกองทหารเกียรติยศเพื่อให้การต้อนรับอย่างสมเกียรติแก่ H.E. Russ Joseph Kun ประธานาธิบดีสาธารณรัฐนาอูรู และภริยา เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 15 พ.ย. ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีไช่อิงเหวินและรองประธานาธิบดีไล่ชิงเต๋อแห่งสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) จึงได้เข้าร่วมหารือกับปธน. Kun โดยปธน.ไช่ฯ แถลงว่า ไต้หวัน – นาอูรูได้ประสานความร่วมมือระหว่างกันในด้านต่างๆ อาทิ พลังงานสะอาด การพัฒนาทางดิจิทัลและวัฒนธรรมการศึกษา ซึ่งล้วนบังเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม เชื่อว่า ในอนาคต ไต้หวัน – นาอูรูจะสามาร

New Southbound Policy。ดาวเทียม Triton เตรียมทดสอบการทำงานเต็มรูปแบบขั้นสุดท้าย นรม.ไต้หวันหวังให้นำอุตสาหกรรมอวกาศของไต้หวันทะยานสู่ห้วงอวกาศ (ภาพจากคณะกรรมการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
ขยายใหญ่ ดาวเทียม Triton เตรียมทดสอบการทำงานเต็มรูปแบบขั้นสุดท้าย นรม.ไต้หวันหวังให้นำอุตสาหกรรมอวกาศของไต้หวันทะยานสู่ห้วงอวกาศ

ดาวเทียม Triton เตรียมทดสอบการทำงานเต็มรูปแบบขั้นสุดท้าย นรม.ไต้หวันหวังให้นำอุตสาหกรรมอวกาศของไต้หวันทะยานสู่ห้วงอวกาศ

ปีนี้ถือเป็นปีแห่งอวกาศปีแรกของไต้หวัน โดยดาวเทียม Triton (Formosat-7R) ซึ่งเป็นดาวเทียมพยากรณ์อากาศดวงแรกที่พัฒนาขึ้นโดยศูนย์อวกาศแห่งชาติไต้หวัน (National Space Organization, NSPO) ของสถาบันวิจัยประยุกต์แห่งชาติไต้หวัน (National Applied Research Laboratories, NARLabs) คณะกรรมการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เตรียมเข้าสู่ขั้นสุดท้ายของ “การทดสอบการทำงานเต็มรูปแบบ” แล้ว โดยในวันที่ 7 พ.ย. ที่ผ่านมา นายซูเจินชาง นายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เดินทางไปยังศูนย์อวกาศแห

New Southbound Policy。การประชุมนานาชาติด้านการตรวจสอบรายงานแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) เปิดฉากแล้ว ขอเชิญทุกฝ่ายร่วมจับตาต่อสถานการณ์ความคืบหน้าของการผลักดันสิทธิเด็กในไต้หวัน (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ การประชุมนานาชาติด้านการตรวจสอบรายงานแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) เปิดฉากแล้ว ขอเชิญทุกฝ่ายร่วมจับตาต่อสถานการณ์ความคืบหน้าของการผลักดันสิทธิเด็กในไต้หวัน

การประชุมนานาชาติด้านการตรวจสอบรายงานแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) เปิดฉากแล้ว ขอเชิญทุกฝ่ายร่วมจับตาต่อสถานการณ์ความคืบหน้าของการผลักดันสิทธิเด็กในไต้หวัน

การประชุมนานาชาติด้านการตรวจสอบรายงานแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) มีกำหนดการจัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 – 18 พ.ย. ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติไทเป (TICC) โดยในครั้งนี้ ได้เชิญคณะกรรมการตรวจสอบและผู้เชี่ยวชาญนานาชาติที่มุ่งมั่นในภารกิจด้านการสร้างหลักประกันทางสิทธิเด็กในสหประชาชาติมาเป็นเวลานาน รวม 5 คนจากเนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์และเซอร์เบีย เดินทางมาเข้าร่วมการประชุม เพื่อร่วมพิจารณาตรวจสอบสถานการณ์ความคืบหน้าที่สำคัญในด้านสิทธิเด็ก ที่ไต้หวั

New Southbound Policy。ปธน.ไช่อิงเหวินต้อนรับคณะตัวแทนของศูนย์เพื่อความก้าวหน้าอเมริกัน (CAP) พร้อมหวังสร้างความร่วมมือเชิงลึกกับสหรัฐฯ เพื่อร่วมสร้างคุณประโยชน์ด้านความเจริญรุ่งเรืองและการเปิดกว้างในภูมิภาคอินโด - แปซิฟิกต่อไป (ภาพจากทำเนียบประธานาธิบดี)
ขยายใหญ่ ปธน.ไช่อิงเหวินต้อนรับคณะตัวแทนของศูนย์เพื่อความก้าวหน้าอเมริกัน (CAP) พร้อมหวังสร้างความร่วมมือเชิงลึกกับสหรัฐฯ เพื่อร่วมสร้างคุณประโยชน์ด้านความเจริญรุ่งเรืองและการเปิดกว้างในภูมิภาคอินโด - แปซิฟิกต่อไป

ปธน.ไช่อิงเหวินต้อนรับคณะตัวแทนของศูนย์เพื่อความก้าวหน้าอเมริกัน (CAP) พร้อมหวังสร้างความร่วมมือเชิงลึกกับสหรัฐฯ เพื่อร่วมสร้างคุณประโยชน์ด้านความเจริญรุ่งเรืองและการเปิดกว้างในภูมิภาคอินโด - แปซิฟิกต่อไป

เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 14 พ.ย. ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีไช่อิงเหวิน ผู้นำสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้การต้อนรับคณะตัวแทนของศูนย์เพื่อความก้าวหน้าอเมริกัน (Center for American Progress, CAP) โดยปธน.ไช่ฯ กล่าวว่า เมื่อต้องเผชิญกับความท้าทายจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 และสงครามระหว่างรัสเซีย - ยูเครน กลุ่มประเทศประชาธิปไตยควรที่จะร่วมแสดงข้อได้เปรียบของกันและกัน ในการสร้างระบบห่วงโซ่อุปทานที่มีความมั่นคงและเปี่ยมด้วยความทรหด โดยในอนาคต ไต้หวันจะเร่งเสริมสร้างความร่วมมือเชิงลึกในประเด็นต่างๆ

New Southbound Policy。รมว.กต.ไต้หวัน ให้สัมภาษณ์แก่ VOA โดยหวังว่าการหารือของผู้นำจีน – สหรัฐฯ ในระหว่างการประชุม G20 บังเกิดผลสัมฤทธิ์ในการธำรงรักษาเสถียรภาพสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน และสันติภาพในภูมิภาคให้คงอยู่ต่อไป (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ รมว.กต.ไต้หวัน ให้สัมภาษณ์แก่ VOA โดยหวังว่าการหารือของผู้นำจีน – สหรัฐฯ ในระหว่างการประชุม G20 บังเกิดผลสัมฤทธิ์ในการธำรงรักษาเสถียรภาพสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน และสันติภาพในภูมิภาคให้คงอยู่ต่อไป

รมว.กต.ไต้หวัน ให้สัมภาษณ์แก่ VOA โดยหวังว่าการหารือของผู้นำจีน – สหรัฐฯ ในระหว่างการประชุม G20 บังเกิดผลสัมฤทธิ์ในการธำรงรักษาเสถียรภาพสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน และสันติภาพในภูมิภาคให้คงอยู่ต่อไป

เมื่อวันที่ 3 พ.ย. ที่ผ่านมา นายอู๋เจาเซี่ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ให้สัมภาษณ์แก่ Ms. Nike Ching หัวหน้าผู้สื่อข่าวประจำกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ของวิทยุเสียงอเมริกา (Voice of America, VOA) โดยรมว.อู๋ฯ ได้วิเคราะห์เชิงลึกในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างสองฝั่งช่องแคบไต้หวัน

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณคณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งรัฐสภาสาธารณรัฐสโลวัก ที่ผ่านญัตติสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) (ภาพจาก UDN)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณคณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งรัฐสภาสาธารณรัฐสโลวัก ที่ผ่านญัตติสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC)

กต.ไต้หวันขอบคุณคณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งรัฐสภาสาธารณรัฐสโลวัก ที่ผ่านญัตติสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC)

เมื่อวันที่ 10 พ.ย. ที่ผ่านมา คณะกรรมาธิการการต่างประเทศแห่งรัฐสภาสาธารณรัฐสโลวัก ได้ผ่านญัตติว่าด้วยการสนับสนุนให้ไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) โดยรัฐสภาสโลวักได้แสดงความสนับสนุนไต้หวันเข้าร่วมในองค์การระหว่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ในระหว่างการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 27 (UNFCCC COP 27) ที่กำลังจัดขึ้นในประเทศอิยิปต์ ณ ขณะนี้ กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) รู้สึกยินดีแ

New Southbound Policy。กต.ไต้หวันขอบคุณสมาชิกรัฐสภา 411 คนของ “สโมสรฟอร์โมซา” (Formosa Club) ในภูมิภาคลาตินอเมริกาและทะเลแคริบเบียน ที่ให้การสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในการประชุม UNFCCC COP 27 (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ กต.ไต้หวันขอบคุณสมาชิกรัฐสภา 411 คนของ “สโมสรฟอร์โมซา” (Formosa Club) ในภูมิภาคลาตินอเมริกาและทะเลแคริบเบียน ที่ให้การสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในการประชุม UNFCCC COP 27

กต.ไต้หวันขอบคุณสมาชิกรัฐสภา 411 คนของ “สโมสรฟอร์โมซา” (Formosa Club) ในภูมิภาคลาตินอเมริกาและทะเลแคริบเบียน ที่ให้การสนับสนุนไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในการประชุม UNFCCC COP 27

การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 27 (UNFCCC COP 27) มีกำหนดการเปิดฉากขึ้นเมื่อวันที่ 6 พ.ย. ณ เมือง Sharm El-Sheikh ประเทศอิยิปต์ โดยในระหว่างนี้ สมาชิกรัฐสภา 411 คนของ “สโมสรฟอร์โมซา” (Formosa Club) ในภูมิภาคลาตินอเมริกาและทะเลแคริบเบียน รวมถึงสมาชิกรัฐสภาและผู้เชี่ยวชาญจากทุกแวดวงจาก 21 ประเทศ ได้ร่วมกันเรียกร้องให้ Mr. Simon Stiell เลขานุการบริหารของการประชุม COP 27 เชิญไต้หวันเข้ามีส่วนร่วมในการประชุมครั้งนี้ พร้อมทั้งอนุมัติให้ไต้หวันเข้ามีส

New Southbound Policy。การเจรจา “แผนริเริ่มทางการค้าไต้หวัน-สหรัฐฯ แห่งศตวรรษที่ 21” เปิดฉากขึ้นที่สหรัฐฯ ในระหว่างวันที่ 8-9 พ.ย. 65 (ภาพจาก CNA)
ขยายใหญ่ การเจรจา “แผนริเริ่มทางการค้าไต้หวัน-สหรัฐฯ แห่งศตวรรษที่ 21” เปิดฉากขึ้นที่สหรัฐฯ ในระหว่างวันที่ 8-9 พ.ย. 65

การเจรจา “แผนริเริ่มทางการค้าไต้หวัน-สหรัฐฯ แห่งศตวรรษที่ 21” เปิดฉากขึ้นที่สหรัฐฯ ในระหว่างวันที่ 8-9 พ.ย. 65

การเจรจา “แผนริเริ่มทางการค้าไต้หวัน - สหรัฐฯ แห่งศตวรรษที่ 21” ได้เปิดฉากขึ้น ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 8 -9 พ.ย. ที่ผ่านมา โดยเจ้าหน้าที่ภาครัฐไต้หวันที่เดินทางไปเข้าร่วมในครั้งนี้ ประกอบด้วย นางหยางเจินหนี รองผู้แทนเจรจาการค้า สำนักงานเจรจาการค้า พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ในสำนักงานตัวแทนรัฐบาลไต้หวันในสหรัฐฯ และเจ้าหน้าที่จากกระทรวงเศรษฐการ กระทรวงการคลัง กระทรวงยุติธรรม สำนักงานต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาแห่งชาติ (NDC) กรมสุขอนามัยและการตรวจกักกันพืชและสัตว์ของ

New Southbound Policy。รมว.กต.ไต้หวันร่วมแสดงปาฐกถาใน “การประชุม 3 ฝ่ายระหว่างไต้หวัน สหรัฐฯ และยุโรป ครั้งที่ 5” โดยกองทุนเยอรมัน มาร์แชลล์ พร้อมเรียกร้องให้กลุ่มประเทศประชาธิปไตยสามัคคีกันสกัดกั้นภัยคุกคามจากอำนาจเผด็จการ (ภาพจากกระทรวงการต่างประเทศ)
ขยายใหญ่ รมว.กต.ไต้หวันร่วมแสดงปาฐกถาใน “การประชุม 3 ฝ่ายระหว่างไต้หวัน สหรัฐฯ และยุโรป ครั้งที่ 5” โดยกองทุนเยอรมัน มาร์แชลล์ พร้อมเรียกร้องให้กลุ่มประเทศประชาธิปไตยสามัคคีกันสกัดกั้นภัยคุกคามจากอำนาจเผด็จการ

รมว.กต.ไต้หวันร่วมแสดงปาฐกถาใน “การประชุม 3 ฝ่ายระหว่างไต้หวัน สหรัฐฯ และยุโรป ครั้งที่ 5” โดยกองทุนเยอรมัน มาร์แชลล์ พร้อมเรียกร้องให้กลุ่มประเทศประชาธิปไตยสามัคคีกันสกัดกั้นภัยคุกคามจากอำนาจเผด็จการ

เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 8 พ.ย. ที่ผ่านมา ตามเวลาในกรุงไทเป นายอู๋เจาเซี่ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้แสดงปาฐกถาผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ใน “การประชุม 3 ฝ่ายระหว่างไต้หวัน สหรัฐฯ และยุโรป ครั้งที่ 5” ที่จัดโดยกองทุนเยอรมัน มาร์แชลล์ (German Marshall Fund, GMF) ซึ่งเป็นคลังสมองของทางการวอชิงตัน โดยการประชุมในครั้งนี้ได้จัดขึ้นในสถานที่จริง ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม